|
|
“ เกษตรกรรมชั้นดี มีโครงสร้างพื้นฐานพร้อม สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ ดูแลสุขภาพด้วยกีฬาการศึกษาได้รับโอกาสทุกคน เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” |
|
วิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม |
|
|
|
|
|
|
|
พันธกิจที่ 1 การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง |
|
|
พันธกิจที่ 2 การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับอำนาจหน้าที่ และภารกิจที่มีอยู่เดิมและได้รับโอน |
|
|
พันธกิจที่ 3 การพัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็ง และสามารถพึ่งตนเองได้ |
|
|
พันธกิจที่ 4 พัฒนาเส้นทางคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปโภคให้ได้มาตรฐานมีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต และเศรษฐกิจของท้องถิ่น |
|
|
พันธกิจที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาและสาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|
พันธกิจที่ 6 จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
|
|
พันธกิจที่ 7 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ตลอดจนความมั่นคง และปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน |
|
|
พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วม และความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน |
|
|
พันธกิจที่ 9 พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของคนจนในชนบท รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และเครือข่ายชุมชน เพื่อนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ |
|
|
พันธกิจที่ 10 ส่งเสริมสังคมเกษตรกรรม ให้เป็นไปตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ และดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง และเสริมสร้างขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจการเกษตรให้เข้มแข็ง |
|
|
|
|
|
|
|
การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน |
|
|
|
ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ ให้ประชาชนได้รับการบริการสาธารณะให้ความสะดวก และรวดเร็วขึ้น โดยเน้นการมีมาตรฐานและเกิดความยุติธรรมดังนี้ |
|
ก่อสร้างและปรับปรุงบำรุงเส้นทางการคมนาคม ให้มีความสะดวกครอบคลุมทุกหมู่บ้าน |
|
ก่อสร้างและปรับปรุงแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร |
|
ก่อสร้างและขยายเขตระบบประปา พร้อมจัดหาแหล่งน้ำทดแทน |
|
ก่อสร้างขยายเขตไฟฟ้า และไฟฟ้าสาธารณะให้ครบทุกครัวเรือน |
|
|
|
|
|
|
การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
|
|
|
|
ส่งเสริมศักยภาพ และขีดความสามารถในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร |
|
ส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็ง |
|
ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน |
|
ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|
|
|
|
|
การพัฒนาคุณภาพชีวิต |
|
|
|
|
การพัฒนา และส่งเสริมการศึกษา |
|
การพัฒนาส่งเสริมด้านสุขภาพและอนามัย |
|
การพัฒนา และส่งเสริมด้านสวัสดิการชุมชน |
|
การพัฒนา และส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น |
|
การพัฒนา และสิ่งเสริมด้านกีฬาและการนันทนาการ |
|
การพัฒน าและส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน |
|
การพัฒนา และส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด |
|
|
|
|
|
|
การพัฒนาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
|
สร้างจิตสำนึกร่วมกันป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม |
|
การบริหารจัดการและรณรงค์กำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลให้ถูกวิธี |
|
|
|
|
|
|
พัฒนาการเมือง และการบริหารจัดการองค์กรตามหลักการ การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) |
|
|
|
|
ส่งเสริมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรทุกภาคส่วนในการพัฒนาทางการเมือง และสังคม |
|
ส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และองค์กรให้มีขีดความสามารถในการพัฒนา |
|
เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ และการบริการประชาชนโดยยึดหลักธรรมาภิบาล |
|
|
|
|